
ฐานข้อมูลผลงานวิจัยดีเด่นและนักวิจัยดีเด่น
สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร
วิทยาเขตแพร่
พระใบฎีกาศักดิธัช สํวโร (แสงธง), ดร.
อาจารย์ประจำ
–
เลขที่ 111 ม.5
แม่คำมี
เมืองแพร่, แพร่ 54000
Map It
– ศศ.บ. (การปกครอง) มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. ๒๕๔๗
– พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๕๖
– พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๖๒
๑.พระศักดิธัช สํวโร และคณะ, รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแบบบูรณาการของศูนย์สุขภาพชุมชนแนวพุทธในจังหวัดแพร่, รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓. (จำนวน ๘๗ หน้า)
๒.Suwannee Sroisong, Phrakhru Soontrondhammanitus, Phra Sakdithat Sangtong, Kunnaya Kaewtankham, Yuttapong Aunhathaweesup, Namthip Jongsiri, องค์ความรู้การป้องกันและการเสริมสร้างสุขภาพของพระสงฆ์เกี่ยวกับ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในภาคเหนือ,รายงานการวิจัย, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓.
๓.พระศักดิธัช สํวโร,ดร., พระราชเขมากร,รศ.ดร., พระครูสุนทรธรรมนิทัศน์,ผศ.ดร., รูปแบบการจัดการเรียนการสอนบูรณาการกับการบริการวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ กับสถาบันทางสังคมในจังหวัดแพร่, รายงานการวิจัย, (สำนักวิชาการวิทยาเขตแพร่: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่, ๒๕๖๔).
๑. “การพัฒนาศักยภาพพระคิลานุปัฏฐากในโครงการวัดส่งเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ในเขตอำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๓). หน้า ๔๕-๕๘. (TCI ฐาน ๒)
๒. “สภาวะจิตก่อนตาย : องค์ความรู้เพื่อการดำเนินชีวิตในสังคมยุค New Normal”, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๔ “พุทธเกษตร : นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยิน” วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓. หน้า ๑๒๗๒-๑๒๘๐.
๓. สุขภาวะพระสงฆ์: การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสุขภาวะตามแนววิถีพุทธโดยการบูรณาการสาธารณสุขชุมชนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีในภาคเหนือตอนบน, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ (มีนาคม-เมษายน ๒๕๖๔). หน้า ๗๔๔-๗๕๔. (TCI ฐาน ๑).
๔. องค์ความรู้การป้องกันและการเสริมสร้างสุขภาพของพระสงฆ์เกี่ยวกับ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในภาคเหนือ, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๔). หน้า ๑๔๑-๑๕๗. (TCI ฐาน ๒).
๕. วิเคราะห์คติธรรมจากประเพณีการสร้างพระพุทธรูปไม้ในจังหวัดแพร่, รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่, วารสารธรรมวิชญ์ ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๔), หน้า ๓๑๕-๓๒๖.
๖. The Value of the Buddhist Art as depicted the Khmer Castles in Surin Province, Turkish Journal of Computer and Mathematics Education Vol.12 No. 8 (2021), P.2544-2549. (Scopus)
๗. “การสร้างเครือข่าย กลไกการตลาดผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ของชุมชนสัมมาชีพในจังหวัดแพร่”, วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง, ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๓ (กันยายน–ธันวาคม ๒๕๖๕). (TCI ฐาน ๒).