
ฐานข้อมูลผลงานวิจัยดีเด่นและนักวิจัยดีเด่น
สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร
ส่วนกลาง-คณะสังคมศาสตร์
อาจารย์ ดร.สุภัทรชัย สีสะใบ
อาจารย์
อาจารย์
79 ม.1 อาคารพระราชรัตนโมลี
ลำไทร
วังน้อย, พระนครศรีอยุธยา 13170
Map It
– พ.ศ. ๒๕๕๓ ป.ตรี หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา
– พ.ศ. ๒๕๕๕ ป.โท หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
– พ.ศ. ๒๕๖๓ ป.เอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๓). “การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ภายในวัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. รายงานการวิจัย. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
๒. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๓). “การพัฒนาศักยภาพและโอกาสของคนรุ่นใหม่ในการออกแบบอนาคตชุมชนเชิงสร้างสรรค์”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
๓. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๔). “การพัฒนาสุขภาวะและการปรับตัวในสังคมผู้สูงวัย ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ”. รายงานการวิจัย. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
๔. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๕). “กองนิติการสงฆ์: แนวทางการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือคณะสงฆ์ด้นกฎหมายและข้อพิพาท เพื่อการปกครองคณะสงฆ์ที่เข้มแข็งในสังคมไทย”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
๑. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๕๙). “ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสในการจัดการวัดในปัจจุบัน”. ตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวามคม ๒๕๕๙): ๗๙-๘๙.
๒. สุภัทรชัย สีสะใบ (๒๕๖๐). “การบริหารจัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรมสู่ความเป็นเลิศ”. ตีพิมพ์ใน วารสาร วิชาการ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวามคม ๒๕๖๐): ๑๐๑-๑๑๖.
๓. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๑). “การพัฒนาชุมชนด้วยการท่องเที่ยวในมิติศาสนา: พระอุเทสิกเจดีย์ขนาดใหญ่”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (เมษายน-มิถุนายน): ๒๖๓-๒๗๓.
๔. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๑). “พุทธวิธีการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชนการเกษตร”. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ “พุทธปัญญากับทศวรรษแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน”. ๙-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี วัดไร่ขิง พระอารามหลวง จังหวัดนครปฐม. ตีพิมพ์ใน วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๑): ๑-๑๒.
๕. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๑). “ภาวะผู้นำในการบริหารจัดการวัดยุคไทยแลนด์ ๔.๐”. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ “พุทธปัญญากับทศวรรษแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน”. ๙-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี วัดไร่ขิง พระอารามหลวง จังหวัดนครปฐม.
๖. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๑). “ผู้สูงอายุต้นแบบตามแนวพุทธ: กรณีศึกษาหลวงพ่อวัดบางเบิด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์”. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร [สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและความมั่นคง แห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ กทม.]. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๑): ๑-๑๗.
๗. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๒). “ถอดบทเรียนจากพื้นที่: การดูแลผู้สูงอายุตามแนวพุทธในจังหวัดสมุทรปราการ”. วารสารวิจยวิชาการ. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๒): ๑๔๙-๑๗๐.
๘. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๒). ถอดบทเรียนจากพื้นที่ : การดูแลผู้สูงอายุตามแนวพุทธในจังหวัดสมุทรสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๑. “พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”. วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ณ อาคารเรียนรวม วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
๙. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๒). “สัปปุริสธรรม ๗ กับกระบวนการสรรหาบุคลากรเชิงรุก”. โครงการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ มจร ครั้งที่ ๓ เรื่อง นวัตกรรมทางการปกครองและทางการบริหารจัดการในยุคไทยแลนด์ ๔.๐. วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
๑๐. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๒). “แนวคิด หลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา : เพื่อพัฒนาให้เป็นกลไกในการพัฒนาสุขภาวะแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ”. โครงการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ มจร ครั้งที่ ๓ เรื่อง นวัตกรรมทางการปกครองและทางการบริหารจัดการในยุคไทยแลนด์ ๔.๐. วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
๑๑. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๓). “การพัฒนาโมเดลประสิทธิผลพุทธวิธีการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชนการเกษตร”. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓): ๑๙๗-๒๑๐.
๑๒. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๓). “บทบาทพระสงฆ์กับงานสาธารณสงเคราะห์ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส Covid ๑๙: กรณีศึกษาบทบาทของหลวงพ่อแดง นนฺทิโย วัดอินทาราม จ.สมุทรสงคราม“. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๓): ๒๘๙-๓๐๔.
๑๓. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๓). ““ผี”ท้องถิ่นกับการทำให้เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในวัดทางศาสนาสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษาวัดเจดีย์ (ไอ้ไข่) อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช“. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓): ๒๖๙-๒๘๓.
๑๔. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๔). “ประสิทธิผลพุทธวิธีการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชนการเกษตร”. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๓): ๕๑-๖๔.
๑๕. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๔). “การพัฒนาศักยภาพและโอกาสของคนรุ่นใหม่ในการออกแบบอนาคต ชุมชนเชิงสร้างสรรค์“. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม): ๑-๑๓.
๑๖. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๔). “จิตอาสากับการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนการเกษตร”. วารสารพุทธจักร (ฉบับพิเศษ) : สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ ณ มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาสีหนราช ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๔: ๒๖๕-๒๗๕.
๑๗. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๔). “การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชนภายในวัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุนายน): ๓๙-๕๐.
๑๘. สุภัทรชัย สีสะใบ. (เขียนร่วม). (๒๕๖๔). เครือข่ายพระสงฆ์สาธารณะสงเคราะห์ของหลวงพ่อแดง นนฺทิโย: กับการช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่น้ำท่วมจังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา พระนครศรีอยุธยา. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๔): ๕๗-๖๘.
๑๙. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๔). การพัฒนาเครือข่ายเยาวชนในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างเครือข่าย ลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๔): ๖๙-๘๐.
๒๐. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๕). “ถอดความรู้จากการฝึกอบรมศักยภาพเยาวชนในการออกแบบอนาคตชุมชนสร้างสรรค์ โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา“. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒ (มีนาคม – เมษายน): ๒๖๗-๒๘๑.
๒๑. สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๕). “การปกครองคณะสงฆ์ที่เข้มแข็งในเขตพื้นที่ภาคใต้ : ข้อมูลจากพื้นที่วิจัย จังหวัดสุราษฎร์ธานีและนครศรีธรรมราช” วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๕): ๕๒-๖๖.
๒๒. สุภัทรชัย สีสะใบ. (เขียนร่วม). (๒๕๖๕). “เสียงสะท้อนจากพื้นที่ภาคเหนือจังหวัดลำพูนและเชียงใหม่: ว่าด้วยการปกครองคณะสงฆ์ที่เข้มแข็ง” วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๕): ๖๖-๖๗.
๒๓.สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๕). “การบริหารจัดการวิธีการบิณฑบาตความทุกข์ของวัดลาดบัวขาว (ราชโยธา) เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร“. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๔ (กรกฎาคม – สิงหาคม): ๒๐๒-๒๑๓.
๒๔.สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๕). “ถอดความรู้จากการฝึกอบรมศักยภาพเยาวชนในการออกแบบอนาคตชุมชนสร้างสรรค์ โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา“. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๖ (พฤศจิกายน – ธันวาคม): A๑๐๒-A๑๑๗.
๒๕.สุภัทรชัย สีสะใบ. (๒๕๖๕). “กองนิติการสงฆ์: แนวทางการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือคณะสงฆ์ด้านกฎหมาย และข้อพิพาท เพื่อการปกครองคณะสงฆ์ที่เข้มแข็งในสังคมไทย“. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๖ (พฤศจิกายน – ธันวาคม): R๓๐๐-R๓๑๓.