ประวัติ และผลงานของ พระครูสุธีกิตติบัณฑิต, รศ.ดร.

พระครูสุธีกิตติบัณฑิต, รศ.ดร.
Phrakhrusuthikittitbundit, Assoc.Prof.Dr.

๑. วุฒิการศึกษา
ปีสำเร็จการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบัน เอกสาร
พ.ศ. ๒๕๔๖ นักธรรมชั้น เอก สำนักเรียนคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พ.ศ. ๒๕๕๐ เปรียญธรรม ๖ ประโยค สำนักเรียนคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พ.ศ. ๒๕๕๔ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (เกียรตินิยมอันดับ ๑) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๕ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๘ พุทธศาสตรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 

๒. ตำแหน่งปัจจุบัน
     ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร
พ.ศ. ๒๕๖๑ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๖ รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาบริหารธุกิจ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ เลขานุการหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปัจจุบัน กองบรรณาธิการวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๕ รองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ฝ่ายวิชาการ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์
     ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน กรรมการสภาวิชาการ

 

๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์
        ๑. ผลงานวิจัย
๑.๑ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ดร. หัวหน้าโครงการวิจัย. “การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (PDF)
๑.๒ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ดร. หัวหน้าโครงการวิจัย. “กลยุทธ์การบริหารองค์กรสงฆ์ที่เข้มแข็งในยุคโลกาภิวัฒน์”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (PDF)
๑.๓ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. “พุทธบูรณาการเพื่อการบริหารจัดการศาสนสมบัติของวัดในพระพุทธศาสนา”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (PDF)
๑.๔ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. ผู้ร่วมวิจัย. “กลไกการบริหารจัดการการท่องเที่ยวในชุมชนผ่านมิติศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (PDF)
๑.๕ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. ผู้ร่วมวิจัย. “กลไกการขับเคลื่อนศักยภาพขีดความสามารถของผู้สูงอายุโดยบูรณาการหลักพุทธธรรม”. รายงานการวิจัย. ทุนมุ่งเป้า สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (PDF)
๑.๖ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. ผู้ร่วมวิจัยฃ. “กลไกการพัฒนาส่งเสริมสุขภาวะโดยการยกระดับจิตการพึ่งตนเองของแกนนำผู้สูงอายุพุทธธรรม ในการเสริมสร้างศักยภาพขีดความสามารถของผู้สูงอายุติดเตียง”. รายงานการวิจัย. ทุนมุ่งเป้า สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (PDF)
๑.๗ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. “รูปแบบการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลีนิกคุณธรรมของพระธรรมวิทยากร”. รายงานการวิจัย. งบประมาณสนับสนุนประจำปี ๒๕๖๑ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (PDF)
๑.๘ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, ผศ.ดร. “การพัฒนาศักยภาพและโอกาสของคนรุ่นใหม่ในการออกแบบอนาคตชุมชนเชิงสร้างสรรค์”. งบประมาณสนับสนุนประจำปี ๒๕๖๓ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (PDF)
๑.๙ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, ผศ.ดร. “พลังบวรพิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม”. งบประมาณสนับสนุนประจำปี ๒๕๖๓ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (PDF)
๑.๑๐ รศ.ดร.สุรินทร์ นิยมางกูร,พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ผศ.ดร. และคณะ. “อิทธิพลของแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การเห็นคุณค่าในตนเอง และอิทธิบาทธรรมที่มีต่อ ความสุขในการทํางานของบุคลากรสายปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (PDF)
      ๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ  
๒.๑ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. หนังสือการใช้งานระบบทะเบียนออนไลน์ สำหรับบุคลากรสำนักทะเบียนและวัดผล. สำนักทะเบียนและวัดผล : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘ (PDF)
๒.๒ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. เอกสารประกอบการสอน การจัดโครงการขั้นสูง : Advance Project Management (๖๑๔ ๒๐๘).  ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. (PDF)
๒.๓ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, ดร. และคณะ. คู่มือนิสิตปริญญาตรี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐. (PDF)
๒.๔ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, ผศ.ดร.. ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการเชิงพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓. (PDF)
      ๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ
๓.๑ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล  ๕  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ (กันยายน – ธันวาคม ๒๕๕๙) : ๕๕ – ๖๒. (PDF)
๓.๒ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ.  (เขียนร่วม). “พระพุทธศาสนาในจีน ทิเบต เวียดนาม ญี่ปุ่น : มองผ่านงานพระศรีคัมภีรญาณ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙) : ๒๖๓ – ๒๗๘. (PDF)
๓.๓ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “การจัดการความขัดแย้งในระบบวรรณะ ของ ดร.เอ็มแบดการ์, วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ ฉบับพิเศษ (พฤษภาคม ๒๕๖๐) : ๕๕๓ – ๕๖๓. (PDF)
๓.๔ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. [เขียนร่วม] “วิ่งตามฝันยังไงก็ชนะ (8 วิธี ‘วิ่งคว้าฝัน’ สไตล์คน ‘ญี่ปุ่น’) Follow the Dream to Win : 8  Ways, Run, to Dream, Acording to Japanese Style”.  วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์.  ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๐) : ๒๕๐ – ๒๖๔. (PDF)
๓.๕ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “กลยุทธ์การบริหารองค์กรสงฆ์ที่เข้มแข็งในยุคโลกาภิวัฒน์วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์.  ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๑) : ๙๙ – ๑๑๕. (PDF)
๓.๖ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “สิ้นแสงฉาน: TWILIGHT OVER BURMA, MY LIFE AS A SHAN PRINCESSวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์.  ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๑) : ๒๙๕ – ๓๑๓. (PDF)
๓.๗ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “กลไกการบริหารจัดการการท่องเที่ยวในชุมชน ผ่านมิติศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.   วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์.  ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ ฉบับพิเศษ (เมษายน – มิถุนายน. ๒๕๖๑) : ๑๑๔ – ๑๒๔. (PDF)
๓.๘ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “พุทธบูรณาการเพื่อการบริหารจัดการศาสนสมบัติของวัดในพระพุทธศาสนา .  วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ ฉบับพิเศษ (เมษายน – มิถุนายน. ๒๕๖๑)
(PDF)
๓.๙ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “รัฐกับศาสนา : ศีลธรรม อำนาจ และอิสรภาพความขัดกันภายใต้ความเป็นอื่น ความรุนแรงจากรัฐสู่ศาสนา”.  วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๗๓ – ๒๙๑. (PDF)
๓.๑๐ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม).  “ตอบเรื่อง พ.ร.บ. คณะสงฆ์ : กลไกการบริหารและแก้ปัญหาคณะสงฆ์ บทสรุปที่ยังไม่มีทางออก ?วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๑) : ๓๑๕ – ๓๒๘. (PDF)
๓.๑๑ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “การบริหารการเงินของวัดในประเทศไทย : ความสอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาลทิศทางการบริหารเงินวัด ทรัพย์สินพระศาสนาในช่วงกระแสเปลี่ยนผ่าน . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (ฉบับพิเศษเนื่องในวันวิสาขบูชา)  (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๗๓ – ๒๙๑. (PDF)
๓.๑๒ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (นักวิจัยร่วม-บทความวิจัย). “กลไกการขับเคลื่อนศักยภาพขีดความสามารถของผู้สูงอายุโดยบูรณาการหลักพุทธธรรมวารสารสหวิทยาการวิจัย. ฉบับบัณฑิตศึกษา ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑  (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒) : ๒๖ – ๓๒. (PDF)
๓.๑๓ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. (เขียนร่วม). “ผู้สูงอายุต้นแบบตามแนวพุทธ: กรณีศึกษาหลวงพ่อวัดบางเบิด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๑) (PDF)
๓.๑๔ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “เซเปียนส์ ประวัติย่อมนุษยชาติ Sapiens  A Brief History of Humankind”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๒). (PDF) 
๓.๑๕ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ผศ.ดร.. “ถอดบทเรียนจากพื้นที่ : การดูแลผู้สูงอายุตามแนวพุทธในจังหวัดสมุทรปราการ”. วารสารวิจยวิชาการ. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๒) : ๑๔๖ – ๑๖๙. (PDF) 
๓.๑๖ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “การพัฒนาบทบาทพระสงฆ์ในการส่งเสริมโครงการ ตลาดประชารัฐเพื่อประชาชน ในกรุงเทพมหานคร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๒) : ๑ – ๑๒. (PDF) 
๓.๑๗ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “รูปแบบการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลินิกคุณธรรมของพระธรรมวิทยากร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๒) : ๕๙ – ๗๐. (PDF) 
๓.๑๘ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “ภาวะผู้นำในการปกครองคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ อำเภอ บางบาลจังหวัด พระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๒)  : ๘๔ – ๙๕. (PDF) 
๓.๑๙ .พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “การสื่อสารเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๔๐๕ – ๔๑๘. (PDF) 
๓.๒๐ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในวัดของพระสังฆาธิการในอําเภอวังน้อยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๓๐๑ – ๓๐๙. (PDF) 
๓.๒๑ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “บทบาทของพระสังฆาธิการในการช่วยเหลือเกื้อกูลประชาชน อําเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๔๖ – ๒๕๕. (PDF) 
๓.๒๒ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “รัฐประศาสนศาสตร์เปลี่ยนโลก”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๒) (PDF) 
๓.๒๓ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “จากดินสู่ฟ้า นัยนา…ลาลับสู่สวรรค์สรรนิพนธ์ว่าด้วยผู้หญิงที่ชื่อนัยนา เกิดวิชัย ครู ต้นแบบและ ผู้สร้าง แรงบันดาลใจ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒) : ๓๑๙ – ๓๓๙. (PDF) 
๓.๒๔ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “การจัดการเชิงพุทธ 5 G MONASTERY MANAGEMENT”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๒) : ๒๙๘ – ๓๐๙. (PDF) 
๓.๒๕ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “แนวคิด หลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา : เพื่อพัฒนาให้เป็นกลไกในการ พัฒนาสุขภาวะแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ”. Proceeding  เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ จัดทําโดย หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒) : ๑๗๑ – ๒๐๕. (PDF) 
๓.๒๖ พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “ธุดงค์ธรรมยาตราครั้งที่ ๘ จังหวัดระยอง : กระบวนการพัฒนาเจตคติตามคติของธุดงค์วัตรในพระพุทธศาสนา”. วารสารพุทธศาสน์เพื่อสันติ. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๓) (PDF)
        ๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ
4.1 Phramaha Krisada Saelee,Ph.D. , (Co-writer). joined to present the article “Organization Management for Learning Organization in the Cognitive Constructivism Based” on GRDS International Conference-11th International Conference on Social Science and Humanities, 19-20 September 2016, Imperial College London, South Kensington Campus | London (PDF)
4.2 Phramaha Krisada Saelee,Ph.D. (Co-writer). “The Holy Phra Bang History : Buddhist Perpetuity Heritage”, Proceeding International Conference on Humanities, Language,Culture & Business, (2nd ICoHLCB) 22-23 April 2017,Hotel De’La Ferns, Cameron Highlands Pahang, Malaysia ISBN: 978-967-14835-1-0 pp.188-190. (PDF)
4.3 PhramahaKissada Kittisopano (Sea-Lee). Ph.D. “Conflict Management in Caste System of Dr.Embedkar”, Proceeding International Conference on Humanities, Language,Culture & Business, (2nd ICoHLCB) 22-23 April 2017,Hotel De’La Ferns, Cameron Highlands Pahang, Malaysia ISBN: 978-967-14835-1-0. pp.179-183. (PDF)
4.4 Anuwat Krasang, Prasert Thilao, Phramaha Krisada Kittisobhano. “Wisdom Leadership Development of Sangha in Thailand”. Journal of Modern Education Review.  ISSN 2155-7993, USA October 2017, Volume 7, No. 10, pp. 698–702. (PDF)
        Publication in SCOPUS
(1) Phramaha Krisada Saelee, Boonton Dockthaisong. “The Development of Buddhist Places for Elderly People Care Center Settlement in Thailand”. |Solid State Technology| Vol. 63 No. 2s (2020)| pp.1569 – 1575 (PDF)
(2) Phramaha Krisada Saelee, Boonton Dockthaisong. “Elderly Persons’ Potential Capacity Driving Mechanism through Buddhism Integration”. |Solid State Technology| Vol. 63 No. 2s (2020)|pp.1417 – 1423. (PDF)
(3) Phramaha Krisada Saelee, Phra Udomsittinayok. “Strategies of Ethic and Morality Indoctrination in Schools of Buddhist Teaching Monks Current Situation of Thai Children and Youth”. |Solid State Technology| Vol. 63 No. 2s (2020)|pp.2050 – 2057. (PDF)
(4) Phramaha Krisada Saelee, Phraudomsittinayok Malai. “Development of Activities for Health Being Promotion and Social Network for Reducing Alcohol Smoking Cessation according to Buddhist Integration in Nonthaburi Province”. |Solid State Technology| Vol. 63 No. 2s (2020)| pp.1953 – 1961. (PDF)

 

๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม
๑. วันที่ ๔ – ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๙ อบรมหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย (Training for the Trainers) รุ่นที่ ๑๒ โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม (วุฒิบัตร)
๒. วันที่ ๓ – ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ อบรมการสร้างสื่ออิเล็กทรอนกส์มาตรฐาน EPUB3 โครงการการประกวดสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาตรฐาน EPUB 3 ครั้งที่ ๒ จัดโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (วุฒิบัตร)
๓. วันที่ ๑๙ – ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำข้อสอบกลาง ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมไร่กุสุมารีสอร์ท อำเภิมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี (วุฒิบัตร)
๔. วันที่ ๒ – ๓ ตุลาคม ๒๕๖๐ ประชุมพัฒนาชุดโครงการวิจัยปี ๒๕๖๒ ณ ห้องปฏิบัติการวิจัย ชั้น G โดยสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (วุฒิบัตร)
๕. วันที่ ๒๑ – ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๑ เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาผู้จัดการงานวิจัย” (Research Manager: RM) รุ่นที่ ๑๕  ชั้น ๓ ห้องบุหลันพิทักษ์พล อาคารอมรภูมิรัตน สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วุฒิบัตร)
๖. วันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ผ่านการรับรองเป็น “วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย” ภาคบรรยาย หมาวดที่ ๖ หลักการเขียนข้อเสนอการวิจัย และหลักการประยุกต์งานวิจัยและนวัตกรรมไปสู่การใช้ประโยชน์” โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)  ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชั้น ๒๓ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ ๒๕๖๑ (Thailand Research Expo 2018) “วิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”  (เกียรติบัตร)
๗. วันที่ ๒๖ – ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนา เพื่อความก้าวหน้าในประชาคมอาเซียน เรื่อง “การพัฒนาโจทย์วิจัยเพื่อพิชิตทุนวิจัยและนวัตกรรม” จัดโดยศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (วุฒิบัตร)
๘. วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์บทความ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มจร ครั้งที่ ๓ (MCU Congress 3)  จัดโดยหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์  และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ภายใต้หัวข้อ “#นวัตกรรมทางการปกครองและการบริหารในยุคไทยแลนด์ ๔.๐  ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา (เกียรติบัตร)
๙. วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔ ผ่านการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสัมนาเครือข่ายวารสาร แนวทางการพัฒนาวารสารวิชาการ (TCI) เพื่อยกระดับวารสารสู่ฐานนานาชาติและการพัฒนาผู้เขียนบทความ. จัดโดยศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) และวารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ณ วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช.  (เกียรติบัตร)
๑๐. วันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๔ อบรม “ทักษะความรู้การใช้โปรแกรมสำหรับการเรียนการสอนในระบบออนไลน์” ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ  (วุฒิบัตร)
๑๑. วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ร่วมเสนอผลงานทางวิชาการ และร่วมประชุมในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ (Online)   นหัวข้อเรื่อง “#พุทธศาสนาและปรัชญา : แนวคิด มุมมอง สังคมยุคหลังโควิด 19″ (Buddhism and Philosophy : Concept and Perspective of the Post-COVID-19 Society) (Online) โดย #คณะศาสนาและปรัชญา #มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มมร จ.นครปฐม
(เกียรติบัตร)
๑๒. 31st May 2020 CHULA MCOC  This is to certify that  Phramaha Krisada Saelee  has successfully completed the open online  non-credit course HRM From Theories to Practices 
(วุฒิบัตร)
๑๓. วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ Road Map to Academic Positions กิจกรรมบริการวิชาการและบริการสังคมหลักสูตรสันติศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หัวข้อ เรื่อง สัมมนาวิชาการเส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ Road Map to Academic Positions  (วุฒิบัตร)
๑๔. วันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมออนไลน์ หลักสูตรของ Thai MOOC แพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้ออนไลน์ตลอดชีวิต กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมการเรียนออนไลน์ตามเกณฑ์การวัดผลในรายวิชา การสรรหาและคัดเถือกบุคลากร (๖ ชั่วโมงการเรียนรู้) พัฒนารายวิชาโดย สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์  (วุฒิบัตร)
๑๕. วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมหลักสูตร Outcome-Based Education (OBE) รุ่นที่ ๕  สำหรับผู้รับผิดชอบหลักสูตรมือใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการพัฒนาหลักสูตรตามหลักการ OBE จัดโดย ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ) (เกียรติบัตร)
๑๖. วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๑ เรื่อง เสริมพลังการมีส่วนร่วมของศาสนบุคคลขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. (วุฒิบัตร)
๑๗. วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๒  เรื่อง หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. (วุฒิบัตร)
๑๘. วันที่ ๒ – ๓ กันยายน ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมหลักสูตร AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4 รุ่นที่ ๓  สำหรับผู้บริหารด้านวิชาการและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการใช้เกณฑ์ AUN-QA ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาก่อน จัดโดย ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ) (เกียรติบัตร)
๑๙. วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๔ การพัฒนาอบรมในโครงการพัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตราฐานระดับปริญญาตรี “การพัฒนาหลักสูตร Non – Degree (หลักสูตรระยะสั้น) ด้านสังคมศาสตร์” (วุฒิบัตร)
๒๐. วันที่ ๒๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมหลักสูตร AUN-QA Implementation and Gap Analasis Version 4 รุ่น ๔ จัดโดย ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ประจำปี ๒๕๖๔ (เกียรติบัตร)
๒๑. วันที่ ๒๐ – ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมหลักสูตร พัฒนาผู้ประเมินฯ ระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA version 4 รุ่นที่ ๒  (เกียรติบัตร)
๒๒. วันที่ ๒๙ เมษายน-๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร (วุฒิบัตร)
Scroll to Top