
ฐานข้อมูลผลงานวิจัยดีเด่นและนักวิจัยดีเด่น
สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร
วิทยาเขตเชียงใหม่
สำราญ ขันสำโรง
ประธานหลักสูตร สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มจร วข.เชียงใหม่
รองศาสตราจารย์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ 139 วัดสวนดอก พระอารามหลวง
สุเทพ
เมืองเชียงใหม่, เชียงใหม่ 50200
Map It
พ.ศ. 2538 พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. 2541 M.A. (Linguistics) Deccan College, India
พ.ศ. 2552 Ph.D. (English) University of Pune, India
1. หัวหน้าโครงการวิจัย
1) สำราญ ขันสำโรง. “ล้านนา, คติความเชื่อ และกระบวนการสร้างความรู้แบบสหวิทยาการ ของนักวิชาการตะวันตก”,สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. แหล่งทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2560
2) สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. “บทบาทและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา ชาเตอร์ ของพระภิกษุและสามเณรที่พำนักวัดพัฒนาตัวอย่างในจังหวัดเชียงใหม่”,แหล่งทุน มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น พ.ศ.2561
3) สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. “ผลของพุทธนวัตกรรมต่อสัญญาณคลื่นสมองในพระภิกษุจังหวัดเชียงใหม่”. แหล่งทุน มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น พ.ศ.2562
2. ผู้ร่วมโครงการวิจัย
1) ดร.เดชา ตาละนึก, ผศ.ดร.สำราญ ขันสำโรง, , ผศ.ดร.วิสุทธิชัย ไชยสิทธิ์, นายปั่น อะทะเทพ, พระทิพย์พนากรณ์ ชยาภินนฺโท. (2561). “การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวในชุมชน กรณีศึกษา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่”. แหล่งทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2561
1. บทความวิชาการฐาน TCI
1) สำราญ ขันสำโรง. (2561). “ล้านนา, คติความเชื่อ และกระบวนการสร้างความรู้แบบสหวิทยาการ ของนักวิชาการตะวันตก”, Journal of Buddhist Studies. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): 124-136.
2) สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (2562). “บทบาทและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา ชาเตอร์ ของพระภิกษุและสามเณรที่พำนักวัดพัฒนาตัวอย่างในจังหวัดเชียงใหม่”, Journal of Buddhist Studies. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): 35-51.
3) สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (2563). “ผลของพุทธนวัตกรรมต่อสัญญาณคลื่นสมองในพระภิกษุจังหวัดเชียงใหม่”, Journal of Buddhist Studies. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): 181-197.
4) ผศ.ดร.สำราญ ขันสำโรง, ผศ.ดร.วิสุทธิชัย ไชยสิทธิ์, ดร.เดชา ตาละนึก, พระครูใบฎีกาทิพย์พนากณ์ ชยาภินนฺโท, อาจารย์ปั่น อะทะเทพ. (2563). “การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวในชุมชน กรณีศึกษา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่”, วารสารแสงโคมคำ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม): 294-312.
5) ผศ.ดร.สำราญ ขันสำโรง, ผศ.ดร.วิสุทธิชัย ไชยสิทธิ์, พระทิพย์พนากรณ์ ชยาภินนฺโท. (2561). “การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของพระภิกษุสามเณรในวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่”, วารสารวิจัยราชภัฎเชียงใหม่. ประจำปีที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 101-112.
6) Samran Khansamrong. (2019). “Thai Buddhist Monastic Schools and Universities”, Education about Asia. Volume 24 No. 1 spring: 37-41.
หนังสือ
7) สำราญ ขันสำโรง. (2561). การแปลงานเฉพาะด้านพุทธศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์ณัฐพลการพิมพ์, 189 หน้า.